logo

“หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทย จากงานวิจัยสู่ภาพจริง” ระบบบริการสุขภาพที่คุณต้องการเป็นอย่างไร?

ในสังคมอุดมคติ ทุกคนจะสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้โดยปราศจากภาระทางการเงิน ซึ่งเป็นสิ่งที่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถช่วยยกระดับคุณภาพช ...อ่านต่อ


#รู้จักโรคIEM ผ่านมุมมองนักวิจัยนโยบายสุขภาพ โรคพันธุกรรมเมตาบอลิก โรคหายากในทารกและเด็กเล็กที่ตรวจพบไม่ง่ายสุดท้ายอาจถึงชีวิต

1 “ขอบคุณพี่นักข่าวมากครับ ที่สนใจเรื่องนี้” หลังจบการให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับงานวิจัยที่มีส่วนช่วยเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้เด็กไทยได้รับการตรวจโรคทางพันธุกรร ...อ่านต่อ


17 กลุ่มโรค…มีลุ้นพิจารณาร่วมรับยาที่ร้านยา ผลจากงานวิจัยสู่นโยบายที่ครอบคลุมยิ่งขึ้น

ในช่วงโควิด-19 ที่ผ่านมา นโยบายสุขภาพหนึ่งที่มีส่วนช่วยแก้ปัญหาความหนาแน่นในโรงพยาบาลทั้งยังลดความเสี่ยงการระบาดของโรคได้คือนโยบาย “รับยาที่ร้านยา”  ผ ...อ่านต่อ


สิทธิประโยชน์ใหม่ปี 2565 งานวิจัยมีส่วนช่วยอย่างไรบ้าง?

โลกที่ว่าเปลี่ยนเร็วแล้ว โรคภัยไข้เจ็บอาจเปลี่ยนเร็วกว่า เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี สิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจึงต้องมีการพัฒนาอ ...อ่านต่อ


ปีใหม่2022 vs โควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ โลกมีวิธีรับมืออย่างไร ?

ปีใหม่ 2022 ใกล้มาถึง การรับมือโควิด-19 หลังการระบาดยาวนานกว่า 2 ปีมีแนวโน้มเปลี่ยนไป จากคลัสเตอร์ครั้งใหญ่ต้องไล่ปิดเมือง สู่เมืองที่ยังคงเปิดอย่างระ ...อ่านต่อ


3 ข้อคิด “ควรรับหรือควรรอ” วัคซีน ? จัดการอย่างไรต่อไปในสถานการณ์ปัจจุบัน

ควรรับวัคซีนหรือรอวัคซีนที่ต้องการ ? อาจเป็นคำถามที่หลายคนยังลังเลใจ จากสถานการณ์การระบาดที่รุนแรง การเสียชีวิตที่มีมากขึ้น แต่กระแสข่าวผลข้างเคียงของ ...อ่านต่อ


งานวิจัยเชิงนโยบายช่วยอะไร ในการรักษา “ธาลัสซีเมีย” ด้วยสเต็มเซลล์

เมื่อไม่นานมานี้ ข่าวการปลูกถ่ายสเต็มเซลล์หรือเซลล์ต้นกำเนิดจากน้องชายให้พี่สาวเพื่อรักษาธาลัสซีเมีย ถือเป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในวงการแพทย์ไทย สิ่งท ...อ่านต่อ

17 สิงหาคม 2563 | 5258

“มะเร็งตับ” ภัยเงียบใกล้ตัวที่ทุกคนสามารถหลีกเลี่ยงได้

ครั้งแรกที่คุณรู้ตัวว่าป่วยอาจเกิดจากการหกล้มกระดูกหัก เมื่อเข้ารักษาจึงพบว่าโรคดังกล่าวเดินมาถึงภาวะวิกฤติเสียแล้ว โรคที่ว่านี้ก็คือ “มะเร็งตับ” ภัยเ ...อ่านต่อ


7 กลุ่มเสี่ยงที่ควรฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ฟรี

ท่ามกลางภาวะโควิด-19 ระบาด อีกโรคที่มีอาการคล้ายกันคือไข้หวัดใหญ่ เมื่อไม่นานมานี้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และกรมควบคุมโรคจึงแนะนำให้ก ...อ่านต่อ

1 มิถุนายน 2563 | 6067

ทำไมประเทศต้องช่วยลดเค็มให้คุณ ?

แค่คุณชอบเหยาะน้ำปลา โรยเกลือ เติมผงชูรส คงไม่มีใครเดือดร้อน แล้วเหตุใดรัฐบาลถึงอยากให้คุณกินเค็มให้น้อยลง รสชาติที่ถูกใจ รสอาหารที่ถูกปาก ความสุขจากก ...อ่านต่อ


ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อฝ่ายสื่อสารองค์กร HITAP